Currently, Thailand visa applications can be divided into seven main categories: visas for long-term residents (Long Stay O-A , O-X), tourist visas, visas for travelers passing through the kingdom or visas for connecting flights (Transit Visa), courtesy visas (Courtesy Visa), official duty visas (Official Visa), diplomatic visas (Diplomatic Visa), and temporary residence visas (Non-Immigrant Visa)….
Category Archives: Knowledge
For expats working in Thailand, in addition to obtaining a Non-Immigrant Visa ”B”, another important document to possess is the Work Permit. This crucial document demonstrates that a expat with a Work Permit is legally permitted to conduct business, carry out operations, or be employed, among other work-related activities within the Kingdom of Thailand. Today,…
วิธีการคำนวณโอที (OT) ในการทำงานนั้น เป็นไปไม่ได้เลยว่าเราจะทำงานให้เสร็จสิ้นพอดีกับเวลาที่เราวางแผนกำหนดไว้ 100% ดังนั้นจึงมีการทำงานล่วงเวลาเกิดขึ้น หรือที่เรียกว่า Over Time หรือ OT นั่นเอง การทำงานล่วงเวลา คือการทำงานนอกเหนือหรือเกินจากเวลาทำงานปกติ ซึ่งเวลาทำงานปกติส่วนใหญ่จะกำหนดไว้ที่ 8 ชม หรือนายจ้างบางที่อาจกำหนดให้ทำงานวันละไม่เกิน 12 ชม. แต่ทำงานไม่เกินสัปดาห์ละ 48 ชั่วโมงก็ได้ ถึงแม้ว่าพนักงานของเราจะมีเงินเดือนประจำอยู่แล้ว ดังนั้นหากมีการทำงานล่วงเวลาเกิดขึ้น บริษัทจะต้องจ่ายเงินค่าจ้างในส่วนนี้ให้แก่พนักงานด้วย ในการคำนวณโอทีจะมีตัวคูณที่สำคัญ คือ 1.5, 2 และ 3 ซึ่งเป็นตัวเลขที่บอกจำนวนเท่าของค่าแรง โดยกฎหมายแรงงานกำหนดให้การทำงานล่วงเวลาในวันปกติ นายจ้างต้องจ่ายค่าแรง 1.5 เท่าของค่าแรงปกติ ให้แก่พนักงาน แต่ถ้าการทำงานล่วงเวลานั้นเป็นการล่วงเวลาในวันหยุดประจำสัปดาห์ หรือวันหยุดตามประเพณี หรือวันหยุดพักผ่อนประจำปีจะต้องจ่าย 2 เท่า ซึ่งโดยปกติแล้วค่า OT จะถูกคำนวณโดย HRหรือผู้เชี่ยวชาญ โดยคำนวณรวมกับเงินเดือนและทำจ่ายตามรอบจ่ายของบริษัทนั้น แต่ในบางบริษัทการทำเงินเดือน + OT ไม่ได้ถูกจัดทำโดย HR หรือผู้ที่เชี่ยวชาญ แล้วเราจะมั่นใจได้อย่างไรว่าการทำงานล่วงเวลา(OT)…
How about probationary period in Thailand? the employee leave rights that you should know. What is the probationary period in Thailand? The probation period is a period of time when both the employee and employer learn how to work together. The employee learns about the job and the company’s culture, while the employer learns about…
When the tax year ends, everyone who has income has the responsibility to pay income tax or PND. to our country (Thailand). Many people who working in Thailand are still confused whether they have to pay tax or not. What is PND. and how important is it for tax filing? Who has to pay it?…
How PEOs are Changing the Way Businesses Manage Employees The future of work is here and it’s changing the way businesses manage their employees. Companies are now turning to Professional Employer Organizations (PEOs) to help them efficiently manage their workforce. PEOs provide a range of services, from payroll administration, tax compliance, and employee benefits to…
มาแล้ว! สิทธิช้อปดีมีคืน ปี 2566 อย่างที่ทราบกันว่าในทุกช่วงต้นปี (มกราคม-กุมภาพันธ์) นอกจะเป็นช่วงเวลาในการยื่นภาษีประจำปีแล้ว ยังเป็นช่วงเวลาในการเก็บสิทธิค่าลดหย่อนที่ชื่อว่า “ช้อปดีมีคืน” อีกด้วย หลายๆคนอาจจะงงว่าทำไมแอดมินถึงใช้คำว่า เก็บสิทธิ อ้าวแล้วต้องลงทะเบียนรึเปล่า ถึงจะได้สิทธินี้? อยากรู้ตามไปอ่านด้านล่างเลย ใครได้ใช้สิทธิ ช้อปดีมีคืน บ้าง? สำหรับสิทธิช้อปดีมีคืนนี้ บุคคลธรรมดาทุกๆคนที่ทำการเสียภาษี จะได้สิทธิกันทุกคนอยู่แล้ว ไม่ต้องลงทะเบียนอะไรนะคะ เพียงแต่ที่แอดมินใช้คำว่าเก็บสิทธิ นั่นเพราะว่า ในช่วงเวลา 1 มกราคม – 15 กุมภาพันธ์ 2566 จะเป็นช่วงเวลาที่เราต้องเก็บใบเสร็จและใบกำกับภาษีจากการซื้อสินค้าและบริการให้ดี เพื่อสำหรับนำมาเป็นค่าลดหย่อนภาษี สำหรับปีภาษี 2566 (ซึ่งจะยื่นภาษีในช่วงต้นปี 2567) นั่นเอง สินค้าและบริการที่เข้าเงื่อนไข มีอะไรบ้าง? สินค้าและบริการที่เข้าเงื่อนไขมีอยู่ 3 ประเภท และต้องเป็นการซื้อสินค้าหรือรับบริการในประเทศไทย นั่นคือ (1) ค่าซื้อสินค้าหรือค่าบริการจากผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) (2) ค่าซื้อหนังสือหรือค่าบริการหนังสือที่อยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต (3) ค่าซื้อสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ซึ่งเป็นสินค้าที่ได้ลงทะเบียนกับกรมการพัฒนาชุมชนแล้ว หรือสรุปได้ว่าคือ 3…
การยื่นภาษี เข้าสู่ปีใหม่ 2566 กันแล้ว หลังจากเพื่อนๆพักผ่อนหย่อนใจ เฉลิมฉลองปีใหม่กันเต็มที่แล้ว ก็อย่ามัวสนุกติดลมกันเพลินจนลืมยื่นภาษีกันด้วยนะ และเพื่อเป็นการย้ำเตือนอีกทีสำหรับหน้าที่ของพลเมืองที่ดี วันนี้เราก็มีข้อมูลเกี่ยวกับการยื่นภาษีมาฝากกันค่ะ 1.ต้องยื่นภาษีเมื่อไหร่ โดยปกติแล้วจะต้องมีการยื่นภาษีในระหว่างวันที่ 1 มกราคมถึง 31 มีนาคม ของทุกปี แม้ว่ารายได้ต่อปีจะไม่ถึงเกณฑ์การเสียภาษีก็ตาม สำหรับบุคคลธรรมดาจะมีการยื่นภาษีปีละ 1 ครั้ง ในกรณีที่มีรายได้จากเงินเดือนเพียงอย่างเดียว ก็ให้เลือกเป็นการยื่นภาษีโดยใช้แบบฟอร์ม ภ.ง.ด. 91 แต่ถ้าหากมีรายได้จากแหล่งอื่น ๆ ร่วมด้วยก็จะต้องใช้แบบฟอร์มการยื่นภาษี ภ.ง.ด. 90 2.สามารถยื่นภาษีได้ที่ไหน สามารถยื่นภาษีได้ที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาใกล้บ้านได้ทุกแห่ง สำหรับผู้ที่เสียภาษีเงินได้ซึ่งมีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพฯ สามารถยื่นภาษีโดยไปรษณีย์ลงทะเบียน พร้อมแนบเช็คได้ทุกประเภท หรือดราฟต์ที่ลงวันที่ในวันยื่นภาษี หรือไม่เกิน 7 วัน สามารถยื่นได้ผ่านช่องทางออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ของกรมสรรพากร ที่ https://efiling.rd.go.th/rd-efiling-web/login ถ้ายังไม่เคยยื่น Online สามารถทำการสมัครสมาชิก ได้เลย หรือยื่นผ่าน RD smart tax Application ทางโทรศัพทมือถือ โดยสามารถยื่นได้ภายในวันที่ 1 มกราคม 2566…
แชร์วิธีคำนวณภาษีพร้อมตัวอย่าง รายได้เท่าไหร่ต้องเสียภาษีปี 2565? บุคคลธรรมดาต้องมีเงินได้เท่าไร ถึงจะต้องเสียภาษี? หนึ่งในหน้าที่ของพลเมืองผู้มีเงินได้ก็คือการเสียภาษี ซึ่งโดยทั่วไปแล้วการยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจะอยู่ตั้งแต่ในช่วงเดือนมกราคมถึงมีนาคม โดยเราสามารถทำการยื่นภาษีได้ด้วยตนเองที่สำนักงานสรรพากรหรืออาจจะยื่นภาษีออนไลน์ผ่านทางเว็บไซต์ของกรมสรรพากรก็ได้ โดยสามารถยื่นได้ถึงสิ้นเดือนเมษายน แต่ก่อนที่จะทำการยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา หลายคนอาจจะสงสัยว่าตนเองนั้นมีรายได้ถึงขั้นที่จะต้องเสียภาษีหรือไม่ และจะต้องเสียภาษีเท่าไหร่ วันนี้เรามีคำตอบมาให้ รายได้สุทธิต่อปีและอัตราภาษีเงินได้ สำหรับบุคคลธรรมดาที่มีรายได้สุทธิต่อปีแตกต่างกัน จะมีอัตราการเสียภาษีเงินได้ที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้ เงินได้สุทธิต่อปี 0 – 150,000 บาท ได้รับการยกเว้นภาษี เงินได้สุทธิต่อปี 150,001 – 300,000 บาท อัตราภาษีเงินได้ 5% เงินได้สุทธิต่อปี 300,001 – 500,000 บาท อัตราภาษีเงินได้ 10% เงินได้สุทธิต่อปี 500,001 – 750,000 บาท อัตราภาษีเงินได้ 15% เงินได้สุทธิต่อปี 750,001 – 1,000,000 บาท อัตราภาษีเงินได้ 20% เงินได้สุทธิต่อปี 1,000,001 – 2,000,000…
Salary preparation is one of the main functions of HR, and it must be carried out on a monthly basis as part of business operations. It has many subtleties to deal with, whether it is collecting information to work. Taxes and related documents As a company grows, the burden on HR increases. There are now…
- 1
- 2